วันจันทร์ที่ 6 สิงหาคม พ.ศ. 2555

ไก่ชนเหลืองหางขาว

 

3.ไก่ชนเหลืองหางขาว

ไก่ชน


เป็นไก่ชนพื้นเมืองทางภาคเหนือของประเทศไทย โดยเฉพาะที่บ้านกร่าง จังหวัดพิษณุโลก ในสมัยอยุธยา สมเด็จพระนเรศวรมหาราชทรงใช้ไก่ชนนี้เพื่อชนกับ ไก่ชนของพม่าและพระองค์ทรงเป็นฝ่ายชนะ ปัจจุบันไก่ชนนี้ไม่ได้เป็นเพียงที่รู้จักในประเทศไทย เท่านั้น ยังมีเป็นที่รู้จักในพม่าด้วยa

วันเสาร์ที่ 4 สิงหาคม พ.ศ. 2555

ไก่ชนพันธุ์เทาหางขาว

ไก่ชนพันธุ์เทาหางขาว

 


ไก่ชนพันธุ์เทาหางขาว


 

 

 

 

 

 

 

 

ไก่ชนพันธุ์เทาหางขาว ไก่เทา หรือไก่สีเทา หรือไก่เถ้า มีแหล่งกำเนิดทั่วไปของประเทศไทย แหล่งกำเนิดไก่เทาที่มีชื่อเสียง เช่น จังหวัดตาก, อำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี, อำเภอบ้านแหลม จังหวัดเพชรบุรี และแถบภาคอีสานจังหวัดขอนแก่น กาฬสินธุ์ นครราชสีมา อุบลราชธานี เป็นต้น ไก่เทาเป็นไก่ขนาดกลางน้ำหนักตัวเฉลี่ยตัวผู้ประมาณ 3-3.5 กก. ตัวเมียประมาณ 2-3 กก.

  • ลำตัว ไก่เทามีลำตัวสองลักษณะ คือ รูปร่างเพรียวบางยาวระหง กับล้ำเตี้ยรูปหัวปลีและเบี้ยจั่น ลำตัวกลม หางยาวทรงฟ่อนข้าวและทรงหางม้า

  • ใบหน้า กลมกลึง หน้าแบบหน้านก หน้ากา

  • ปาก ปากใหญ่ยาว ปลายปากงุ้ม มีร่องน้ำลึกทั้งสองข้าง ปากสีขาวอมเหลืองรับกับสีแข้ง เล็บ เดือย

  • จมูก รูจมูกโปร่งกว้าง สันจมูกเรียบติดกับปากสีเดียวกับปาก

  • ตา สีตาขาวอมเหลือง มีเส้นเลือดในตาขาวเด่นชัด ขอบตาเป็นรูปวงรี สองชั้น ดวงตาแจ่มใส

  • หงอน เป็นหงอนหินหรือหงอนสามแฉก หน้าหงอนบางกลางหงอนสูง กอดรัดกระหม่อม

  • หู ตุ้มหูรัดตรึง ไม่หย่อนยาน ขนปิดหูสีเดียวกับสร้อย

  • เหนียง เหนียงรัดตรึงติดกับคาง ไม่มีแปะหย่อนยาน สีเดียวกับหงอน

  • กะโหลก ยาว2ตอน ตอนหน้าเรียวยาวเล็กว่าท่อนหลัง มีรอยไขหัวกลางกะโหลก

  • คอ คอยาวรูปเคียว ปล้องคอชิดแน่น สร้อยคอขึ้นเป็นระเบียบ สีเดียวกับสร้อยหลังยาวไปต่อกับสร้อยหลังพอดี

  • ปีก ปีกใหญ่และยาว เป็นปีกลอนเดียวไม่ห่างไม่โหว่ ปีกสีเทาเหมือนขนพื้นตัว สร้อยหัวปีกสีเดียว กับสร้อยคอและสร้อยหลัง

  • ตะเกียบ ชิดตรง

  • หาง หางพัดยาวเรียบเป็นระเบียบสีเทาเดียวกับขนพื้นตัวหรือหางกระรวยสีขาวปนเทา หางทรง ฟ่อนข้าว พลูจีบ หรือหางม้า ขั้วหางใหญ่มีกระปุกน้ำมันใหญ่และอันเดียว

  • แข้งขา ปั้นขาใหญ่ กลมกลึง แข้งเรียวกลมกลึงแบบลำหวาย แข้งสีเดียวกับปาก ขนปั้นขาสีเทา

  • เกล็ด เกล็ดแข้งสีขาวอมเหลืองรับกับสีปาก เกล็ดเรียงเป็นระเบียบแบบแถว จระเข้ขบฟันหรือปัด ตลอดจะมีเกล็ดพิฆาต เช่น เสือซ่อนเล็บ ไชบาดาล และอื่นๆ

  • นิ้ว เรียวยาว ปุ่มนิ้วมีตัวปลิง เกล็ดนิ้วมีแตกมีแซม เล็บนิ้วจะสีเดียวกับนิ้วหรือปาก หรือแข้ง

  • เดือย เดือยแหลมคมแบบเดือยงาช้าง ฐานเดือยมั่นคง

  • ขน ขนพื้นตัวสีเทาตามพันธุ์ ขนปีกขนหางพัดสีเทา ขนสร้อยคอ สร้อยปีก สร้อยหลัง และขนระย้าสี เดียวกันตามพันธุ์ เช่น ดำ ประดู่ ขี้เถ้า ทองแดง หรือเหลืองทอง

  • กริยาท่าทาง เป็นไก่ที่สง่างามอีกพันธุ์หนึ่ง ยืนเดินทะมัดทะแมง ยืนตัวตรงเล่นสร้อยกระพือปีกตลอดเวลา มีชั้นเชิงหลายกระบวนท่า

สายพันธุ์ไก่เทาหางขาวพันธุ์แท้แต่โบราณ มีอยู่ 6 พันธุ์ คือ

  1. ไก่เทาทองคำหรือเทาฤาษี เป็นไก่เทายอดนิยมอันดับหนึ่งเหนือไก่เทาอื่นใด ไก่เทาทองหรือเทาเหลืองที่โด่งดังเป็นไก่โทนเถ้าของหลวงเมืองตากชนชนะไก่มากมาย ลักษณะเด่นประจำพันธุ์ของเทาทองคำคือ ขนพื้นตัวสีเทาอ่อนแบบขี้เถ้าฟืน ขนปีกขนหางพัดสีเทาแบบสีพื้นตัว ขนสร้อยคอ สร้อยปีก สร้อยหลัง และขนระย้าสีเหลืองทอง แบบเหลืองหางขาว ขนกระรวยโคนเทาปลายขาวหรือกระรวยคู่กลางขาวปลอด ปาก แข้งเล็บ เดือยสีขาวอมเหลืองรับกัน ขนปิดหูสีเหลืองทอง ตาสีขาวอมเหลืองแบบสีปลาหมอตายคล้ายไก่เหลืองหางขาวมาก

  1. ไก่เทาทองแดง เป็นไก่เทาอันดับสองรองจากไก่เทาทองคำ ลักษณะเด่นประจำพันธุ์ของเทาทองแดง ขนพื้นตัวสีเทาแก่ ก้านขนจะแดง ขนปีก ขนหางพัดสีเทาแก่ ขนหางกระรวยสีเทาปลายขาว ก้านขนแดง ขนสร้อยคอ สร้อยปีก สร้อยหลัง และระย้าสีทองแดงคล้ายไก่ทองแดง หางดำ ปาก แข้ง เล็บ เดือยสีขาวอมแดง เกล็ดแข้งขอบเกล็ดสีแดงจะออกเข้มกว่ากลางเกล็ด ขนปิดหูสีแดงแบบสร้อย ตาสีแดง

  1. ไก่เทาสวาด เป็นไก่เทาอันดับสามรองจากเทาทองแดง ลักษณะเด่น ประจำพันธุ์เทา ขนพื้นตัว ขนปีก ขนหางพัดสีเทาแบบลูกสวาด หรือสีเหมือนแมวสีสวาด หรือแมวโคราช ขนกระรวยสีโคนขนสีสวาด ปลายขนสีขาว ขนปิดหู สีเทาสวาดเข้ม กว่าสีพื้นตัว ปาก แข้ง เล็บ เดือย สีขาวอมเหลือง ขอบเกล็ดสีเทา ตาสีเหลืองไพล

  1. ไก่เทาหม้อ เป็นไก่เทาอันดับสี่รองจากเทาสวาด ลักษณะเด่นประจำพันธุ์เทาหม้อ ขนพื้นตัว ขนปีก ขนหางพัด สีเทาแก่ หางกระรวยสีเทาปลายขาว ขนสร้อยคอ สร้อยปีก สร้อยหลัง ระย้าสีเทาแก่แบบสีมะขามไหม้ ขนปิดหูสีเดียวกับสร้อย ปาก แข้ง เล็บ เดือย สีขาวอมเหลือง

  1. ไก่เทาขี้เถ้า เป็นไก่เทาอันดับห้ารองจากเทาหม้อ บางแห่งเรียกว่าเทาเงินยวง ลักษณะเด่นประจำพันธุ์ ขนพื้นตัว ขนปีก ขนหางพัดสีเทาอ่อนแบบสีขี้เถ้าฟืน สีไก่แจ้ดอกหมากหรือสีนกพิราบ หางกระรวยโคนขนสีเทาปลายขนขาวค่อนข้างมาก ขนปิดหูสีเทาอ่อน ปาก แข้ง เล็บ เดือย สีขาวอมเหลือง ตาสีขาวขุนแบบควันไฟ

  1. ไก่เทาดำ เป็นไก่เทาอันดับหกรองจากไก่เทาขี้เถ้า ลักษณะเด่นประจำพันธุ์ขนพื้นตัวสีเทาแก่ ขนปีก ขนหางพัดสีเทาแก่ ขนหางกระรวยสีเทาแซมขาวเล็กน้อย สร้อยคอ สร้อยปีก สร้อยหลัง ขนปิดหูสีดำ บางคนเรียกเทาขี้ควาย ปากแข้ง เล็บ เดือยและตาสีดำคล้ำ

ลักษณะเด่นประจำพันธุ์ไก่เทาหางขาวเพศเมีย

ไก่เทาเพศเมีย มีรูปร่างเพรียวบางสูงระหง คอคางรัด หน้าแหลมกลมกลึงแบบหน้านก ลำตัวยาวกลมจับยาวสองท่อน ขนพื้นตัวและขนหลังเส้นเล็กละเอียดเรียงกันเป็นระเบียบ กระเบนหางรัด สีขนพื้นตัว ขนหลัง ขนปีก ขนหางและขนคอ เป็นสีเทาเหมือนกันทั้งตัว สีจะแก่-อ่อนต่างกันตามสายพันธุ์เหมือนขนพื้นตัวของตัวผู้ ส่วนที่แตกต่างกันเห็นได้ชัด คือ ขนสร้อยคอจะมีขลิบสีไปตามสายพันธุ์เหมือนขนสร้อยคอตัวผู้ เช่น เทาทองคำจะมีขนขลิบเหลือง เทาทองแดงจะมีขนขลิบสีแดง เทาสวาดหรือเทาเรือรบจะมีขลิบสีเทา เทาหม้อหรือเทาประดุ่จะมีขนขลิบสีประดู่ เทาขี้ถ้าหรือเทาเงินยวงหรือเทานกพิราบจะมีขนขลิบสีขาว เทาขี้ควายหรือเทาดำสีตาจะเหมือนตัวผู้ ปาก แข้ง เล็บ เดือย สีขาวอมเหลืองและแดงเหมือนตัวผู้เช่นกัน

ไก่ชนพันธุ์เทาหางขาว

ไก่ชนพันธุ์เทาหางขาว

ไก่ชนพันธุ์เทาหางขาว

ไก่ชนพันธุ์เทาหางขาว ไก่เทา หรือไก่สีเทา หรือไก่เถ้า มีแหล่งกำเนิดทั่วไปของประเทศไทย แหล่งกำเนิดไก่เทาที่มีชื่อเสียง เช่น จังหวัดตาก, อำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี, อำเภอบ้านแหลม จังหวัดเพชรบุรี และแถบภาคอีสานจังหวัดขอนแก่น กาฬสินธุ์ นครราชสีมา อุบลราชธานี เป็นต้น ไก่เทาเป็นไก่ขนาดกลางน้ำหนักตัวเฉลี่ยตัวผู้ประมาณ 3-3.5 กก. ตัวเมียประมาณ 2-3 กก.

  • ลำตัว ไก่เทามีลำตัวสองลักษณะ คือ รูปร่างเพรียวบางยาวระหง กับล้ำเตี้ยรูปหัวปลีและเบี้ยจั่น ลำตัวกลม หางยาวทรงฟ่อนข้าวและทรงหางม้า

  • ใบหน้า กลมกลึง หน้าแบบหน้านก หน้ากา

  • ปาก ปากใหญ่ยาว ปลายปากงุ้ม มีร่องน้ำลึกทั้งสองข้าง ปากสีขาวอมเหลืองรับกับสีแข้ง เล็บ เดือย

  • จมูก รูจมูกโปร่งกว้าง สันจมูกเรียบติดกับปากสีเดียวกับปาก

  • ตา สีตาขาวอมเหลือง มีเส้นเลือดในตาขาวเด่นชัด ขอบตาเป็นรูปวงรี สองชั้น ดวงตาแจ่มใส

  • หงอน เป็นหงอนหินหรือหงอนสามแฉก หน้าหงอนบางกลางหงอนสูง กอดรัดกระหม่อม

  • หู ตุ้มหูรัดตรึง ไม่หย่อนยาน ขนปิดหูสีเดียวกับสร้อย

  • เหนียง เหนียงรัดตรึงติดกับคาง ไม่มีแปะหย่อนยาน สีเดียวกับหงอน

  • กะโหลก ยาว2ตอน ตอนหน้าเรียวยาวเล็กว่าท่อนหลัง มีรอยไขหัวกลางกะโหลก

  • คอ คอยาวรูปเคียว ปล้องคอชิดแน่น สร้อยคอขึ้นเป็นระเบียบ สีเดียวกับสร้อยหลังยาวไปต่อกับสร้อยหลังพอดี

  • ปีก ปีกใหญ่และยาว เป็นปีกลอนเดียวไม่ห่างไม่โหว่ ปีกสีเทาเหมือนขนพื้นตัว สร้อยหัวปีกสีเดียว กับสร้อยคอและสร้อยหลัง

  • ตะเกียบ ชิดตรง

  • หาง หางพัดยาวเรียบเป็นระเบียบสีเทาเดียวกับขนพื้นตัวหรือหางกระรวยสีขาวปนเทา หางทรง ฟ่อนข้าว พลูจีบ หรือหางม้า ขั้วหางใหญ่มีกระปุกน้ำมันใหญ่และอันเดียว

  • แข้งขา ปั้นขาใหญ่ กลมกลึง แข้งเรียวกลมกลึงแบบลำหวาย แข้งสีเดียวกับปาก ขนปั้นขาสีเทา

  • เกล็ด เกล็ดแข้งสีขาวอมเหลืองรับกับสีปาก เกล็ดเรียงเป็นระเบียบแบบแถว จระเข้ขบฟันหรือปัด ตลอดจะมีเกล็ดพิฆาต เช่น เสือซ่อนเล็บ ไชบาดาล และอื่นๆ

  • นิ้ว เรียวยาว ปุ่มนิ้วมีตัวปลิง เกล็ดนิ้วมีแตกมีแซม เล็บนิ้วจะสีเดียวกับนิ้วหรือปาก หรือแข้ง

  • เดือย เดือยแหลมคมแบบเดือยงาช้าง ฐานเดือยมั่นคง

  • ขน ขนพื้นตัวสีเทาตามพันธุ์ ขนปีกขนหางพัดสีเทา ขนสร้อยคอ สร้อยปีก สร้อยหลัง และขนระย้าสี เดียวกันตามพันธุ์ เช่น ดำ ประดู่ ขี้เถ้า ทองแดง หรือเหลืองทอง

  • กริยาท่าทาง เป็นไก่ที่สง่างามอีกพันธุ์หนึ่ง ยืนเดินทะมัดทะแมง ยืนตัวตรงเล่นสร้อยกระพือปีกตลอดเวลา มีชั้นเชิงหลายกระบวนท่า

สายพันธุ์ไก่เทาหางขาวพันธุ์แท้แต่โบราณ มีอยู่ 6 พันธุ์ คือ

  1. ไก่เทาทองคำหรือเทาฤาษี เป็นไก่เทายอดนิยมอันดับหนึ่งเหนือไก่เทาอื่นใด ไก่เทาทองหรือเทาเหลืองที่โด่งดังเป็นไก่โทนเถ้าของหลวงเมืองตากชนชนะไก่มากมาย ลักษณะเด่นประจำพันธุ์ของเทาทองคำคือ ขนพื้นตัวสีเทาอ่อนแบบขี้เถ้าฟืน ขนปีกขนหางพัดสีเทาแบบสีพื้นตัว ขนสร้อยคอ สร้อยปีก สร้อยหลัง และขนระย้าสีเหลืองทอง แบบเหลืองหางขาว ขนกระรวยโคนเทาปลายขาวหรือกระรวยคู่กลางขาวปลอด ปาก แข้งเล็บ เดือยสีขาวอมเหลืองรับกัน ขนปิดหูสีเหลืองทอง ตาสีขาวอมเหลืองแบบสีปลาหมอตายคล้ายไก่เหลืองหางขาวมาก

  2. ไก่เทาทองแดง เป็นไก่เทาอันดับสองรองจากไก่เทาทองคำ ลักษณะเด่นประจำพันธุ์ของเทาทองแดง ขนพื้นตัวสีเทาแก่ ก้านขนจะแดง ขนปีก ขนหางพัดสีเทาแก่ ขนหางกระรวยสีเทาปลายขาว ก้านขนแดง ขนสร้อยคอ สร้อยปีก สร้อยหลัง และระย้าสีทองแดงคล้ายไก่ทองแดง หางดำ ปาก แข้ง เล็บ เดือยสีขาวอมแดง เกล็ดแข้งขอบเกล็ดสีแดงจะออกเข้มกว่ากลางเกล็ด ขนปิดหูสีแดงแบบสร้อย ตาสีแดง

  3. ไก่เทาสวาด เป็นไก่เทาอันดับสามรองจากเทาทองแดง ลักษณะเด่น ประจำพันธุ์เทา ขนพื้นตัว ขนปีก ขนหางพัดสีเทาแบบลูกสวาด หรือสีเหมือนแมวสีสวาด หรือแมวโคราช ขนกระรวยสีโคนขนสีสวาด ปลายขนสีขาว ขนปิดหู สีเทาสวาดเข้ม กว่าสีพื้นตัว ปาก แข้ง เล็บ เดือย สีขาวอมเหลือง ขอบเกล็ดสีเทา ตาสีเหลืองไพล

  4. ไก่เทาหม้อ เป็นไก่เทาอันดับสี่รองจากเทาสวาด ลักษณะเด่นประจำพันธุ์เทาหม้อ ขนพื้นตัว ขนปีก ขนหางพัด สีเทาแก่ หางกระรวยสีเทาปลายขาว ขนสร้อยคอ สร้อยปีก สร้อยหลัง ระย้าสีเทาแก่แบบสีมะขามไหม้ ขนปิดหูสีเดียวกับสร้อย ปาก แข้ง เล็บ เดือย สีขาวอมเหลือง

  5. ไก่เทาขี้เถ้า เป็นไก่เทาอันดับห้ารองจากเทาหม้อ บางแห่งเรียกว่าเทาเงินยวง ลักษณะเด่นประจำพันธุ์ ขนพื้นตัว ขนปีก ขนหางพัดสีเทาอ่อนแบบสีขี้เถ้าฟืน สีไก่แจ้ดอกหมากหรือสีนกพิราบ หางกระรวยโคนขนสีเทาปลายขนขาวค่อนข้างมาก ขนปิดหูสีเทาอ่อน ปาก แข้ง เล็บ เดือย สีขาวอมเหลือง ตาสีขาวขุนแบบควันไฟ

  6. ไก่เทาดำ เป็นไก่เทาอันดับหกรองจากไก่เทาขี้เถ้า ลักษณะเด่นประจำพันธุ์ขนพื้นตัวสีเทาแก่ ขนปีก ขนหางพัดสีเทาแก่ ขนหางกระรวยสีเทาแซมขาวเล็กน้อย สร้อยคอ สร้อยปีก สร้อยหลัง ขนปิดหูสีดำ บางคนเรียกเทาขี้ควาย ปากแข้ง เล็บ เดือยและตาสีดำคล้ำ

ลักษณะเด่นประจำพันธุ์ไก่เทาหางขาวเพศเมีย

ไก่เทาเพศเมีย มีรูปร่างเพรียวบางสูงระหง คอคางรัด หน้าแหลมกลมกลึงแบบหน้านก ลำตัวยาวกลมจับยาวสองท่อน ขนพื้นตัวและขนหลังเส้นเล็กละเอียดเรียงกันเป็นระเบียบ กระเบนหางรัด สีขนพื้นตัว ขนหลัง ขนปีก ขนหางและขนคอ เป็นสีเทาเหมือนกันทั้งตัว สีจะแก่-อ่อนต่างกันตามสายพันธุ์เหมือนขนพื้นตัวของตัวผู้ ส่วนที่แตกต่างกันเห็นได้ชัด คือ ขนสร้อยคอจะมีขลิบสีไปตามสายพันธุ์เหมือนขนสร้อยคอตัวผู้ เช่น เทาทองคำจะมีขนขลิบเหลือง เทาทองแดงจะมีขนขลิบสีแดง เทาสวาดหรือเทาเรือรบจะมีขลิบสีเทา เทาหม้อหรือเทาประดุ่จะมีขนขลิบสีประดู่ เทาขี้ถ้าหรือเทาเงินยวงหรือเทานกพิราบจะมีขนขลิบสีขาว เทาขี้ควายหรือเทาดำสีตาจะเหมือนตัวผู้ ปาก แข้ง เล็บ เดือย สีขาวอมเหลืองและแดงเหมือนตัวผู้เช่นกัน

ไก่ชนพันธุ์เทาหางขาว

ไก่ชนพันธุ์เทาหางขาว

ไก่ชนพันธุ์เทาหางขาว

ไก่ชนพันธุ์เทาหางขาว ไก่เทา หรือไก่สีเทา หรือไก่เถ้า มีแหล่งกำเนิดทั่วไปของประเทศไทย แหล่งกำเนิดไก่เทาที่มีชื่อเสียง เช่น จังหวัดตาก, อำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี, อำเภอบ้านแหลม จังหวัดเพชรบุรี และแถบภาคอีสานจังหวัดขอนแก่น กาฬสินธุ์ นครราชสีมา อุบลราชธานี เป็นต้น ไก่เทาเป็นไก่ขนาดกลางน้ำหนักตัวเฉลี่ยตัวผู้ประมาณ 3-3.5 กก. ตัวเมียประมาณ 2-3 กก.

  • ลำตัว ไก่เทามีลำตัวสองลักษณะ คือ รูปร่างเพรียวบางยาวระหง กับล้ำเตี้ยรูปหัวปลีและเบี้ยจั่น ลำตัวกลม หางยาวทรงฟ่อนข้าวและทรงหางม้า

  • ใบหน้า กลมกลึง หน้าแบบหน้านก หน้ากา

  • ปาก ปากใหญ่ยาว ปลายปากงุ้ม มีร่องน้ำลึกทั้งสองข้าง ปากสีขาวอมเหลืองรับกับสีแข้ง เล็บ เดือย

  • จมูก รูจมูกโปร่งกว้าง สันจมูกเรียบติดกับปากสีเดียวกับปาก

  • ตา สีตาขาวอมเหลือง มีเส้นเลือดในตาขาวเด่นชัด ขอบตาเป็นรูปวงรี สองชั้น ดวงตาแจ่มใส

  • หงอน เป็นหงอนหินหรือหงอนสามแฉก หน้าหงอนบางกลางหงอนสูง กอดรัดกระหม่อม

  • หู ตุ้มหูรัดตรึง ไม่หย่อนยาน ขนปิดหูสีเดียวกับสร้อย

  • เหนียง เหนียงรัดตรึงติดกับคาง ไม่มีแปะหย่อนยาน สีเดียวกับหงอน

  • กะโหลก ยาว2ตอน ตอนหน้าเรียวยาวเล็กว่าท่อนหลัง มีรอยไขหัวกลางกะโหลก

  • คอ คอยาวรูปเคียว ปล้องคอชิดแน่น สร้อยคอขึ้นเป็นระเบียบ สีเดียวกับสร้อยหลังยาวไปต่อกับสร้อยหลังพอดี

  • ปีก ปีกใหญ่และยาว เป็นปีกลอนเดียวไม่ห่างไม่โหว่ ปีกสีเทาเหมือนขนพื้นตัว สร้อยหัวปีกสีเดียว กับสร้อยคอและสร้อยหลัง

  • ตะเกียบ ชิดตรง

  • หาง หางพัดยาวเรียบเป็นระเบียบสีเทาเดียวกับขนพื้นตัวหรือหางกระรวยสีขาวปนเทา หางทรง ฟ่อนข้าว พลูจีบ หรือหางม้า ขั้วหางใหญ่มีกระปุกน้ำมันใหญ่และอันเดียว

  • แข้งขา ปั้นขาใหญ่ กลมกลึง แข้งเรียวกลมกลึงแบบลำหวาย แข้งสีเดียวกับปาก ขนปั้นขาสีเทา

  • เกล็ด เกล็ดแข้งสีขาวอมเหลืองรับกับสีปาก เกล็ดเรียงเป็นระเบียบแบบแถว จระเข้ขบฟันหรือปัด ตลอดจะมีเกล็ดพิฆาต เช่น เสือซ่อนเล็บ ไชบาดาล และอื่นๆ

  • นิ้ว เรียวยาว ปุ่มนิ้วมีตัวปลิง เกล็ดนิ้วมีแตกมีแซม เล็บนิ้วจะสีเดียวกับนิ้วหรือปาก หรือแข้ง

  • เดือย เดือยแหลมคมแบบเดือยงาช้าง ฐานเดือยมั่นคง

  • ขน ขนพื้นตัวสีเทาตามพันธุ์ ขนปีกขนหางพัดสีเทา ขนสร้อยคอ สร้อยปีก สร้อยหลัง และขนระย้าสี เดียวกันตามพันธุ์ เช่น ดำ ประดู่ ขี้เถ้า ทองแดง หรือเหลืองทอง

  • กริยาท่าทาง เป็นไก่ที่สง่างามอีกพันธุ์หนึ่ง ยืนเดินทะมัดทะแมง ยืนตัวตรงเล่นสร้อยกระพือปีกตลอดเวลา มีชั้นเชิงหลายกระบวนท่า

สายพันธุ์ไก่เทาหางขาวพันธุ์แท้แต่โบราณ มีอยู่ 6 พันธุ์ คือ

  1. ไก่เทาทองคำหรือเทาฤาษี เป็นไก่เทายอดนิยมอันดับหนึ่งเหนือไก่เทาอื่นใด ไก่เทาทองหรือเทาเหลืองที่โด่งดังเป็นไก่โทนเถ้าของหลวงเมืองตากชนชนะไก่มากมาย ลักษณะเด่นประจำพันธุ์ของเทาทองคำคือ ขนพื้นตัวสีเทาอ่อนแบบขี้เถ้าฟืน ขนปีกขนหางพัดสีเทาแบบสีพื้นตัว ขนสร้อยคอ สร้อยปีก สร้อยหลัง และขนระย้าสีเหลืองทอง แบบเหลืองหางขาว ขนกระรวยโคนเทาปลายขาวหรือกระรวยคู่กลางขาวปลอด ปาก แข้งเล็บ เดือยสีขาวอมเหลืองรับกัน ขนปิดหูสีเหลืองทอง ตาสีขาวอมเหลืองแบบสีปลาหมอตายคล้ายไก่เหลืองหางขาวมาก

  2. ไก่เทาทองแดง เป็นไก่เทาอันดับสองรองจากไก่เทาทองคำ ลักษณะเด่นประจำพันธุ์ของเทาทองแดง ขนพื้นตัวสีเทาแก่ ก้านขนจะแดง ขนปีก ขนหางพัดสีเทาแก่ ขนหางกระรวยสีเทาปลายขาว ก้านขนแดง ขนสร้อยคอ สร้อยปีก สร้อยหลัง และระย้าสีทองแดงคล้ายไก่ทองแดง หางดำ ปาก แข้ง เล็บ เดือยสีขาวอมแดง เกล็ดแข้งขอบเกล็ดสีแดงจะออกเข้มกว่ากลางเกล็ด ขนปิดหูสีแดงแบบสร้อย ตาสีแดง

  3. ไก่เทาสวาด เป็นไก่เทาอันดับสามรองจากเทาทองแดง ลักษณะเด่น ประจำพันธุ์เทา ขนพื้นตัว ขนปีก ขนหางพัดสีเทาแบบลูกสวาด หรือสีเหมือนแมวสีสวาด หรือแมวโคราช ขนกระรวยสีโคนขนสีสวาด ปลายขนสีขาว ขนปิดหู สีเทาสวาดเข้ม กว่าสีพื้นตัว ปาก แข้ง เล็บ เดือย สีขาวอมเหลือง ขอบเกล็ดสีเทา ตาสีเหลืองไพล

  4. ไก่เทาหม้อ เป็นไก่เทาอันดับสี่รองจากเทาสวาด ลักษณะเด่นประจำพันธุ์เทาหม้อ ขนพื้นตัว ขนปีก ขนหางพัด สีเทาแก่ หางกระรวยสีเทาปลายขาว ขนสร้อยคอ สร้อยปีก สร้อยหลัง ระย้าสีเทาแก่แบบสีมะขามไหม้ ขนปิดหูสีเดียวกับสร้อย ปาก แข้ง เล็บ เดือย สีขาวอมเหลือง

  5. ไก่เทาขี้เถ้า เป็นไก่เทาอันดับห้ารองจากเทาหม้อ บางแห่งเรียกว่าเทาเงินยวง ลักษณะเด่นประจำพันธุ์ ขนพื้นตัว ขนปีก ขนหางพัดสีเทาอ่อนแบบสีขี้เถ้าฟืน สีไก่แจ้ดอกหมากหรือสีนกพิราบ หางกระรวยโคนขนสีเทาปลายขนขาวค่อนข้างมาก ขนปิดหูสีเทาอ่อน ปาก แข้ง เล็บ เดือย สีขาวอมเหลือง ตาสีขาวขุนแบบควันไฟ

  6. ไก่เทาดำ เป็นไก่เทาอันดับหกรองจากไก่เทาขี้เถ้า ลักษณะเด่นประจำพันธุ์ขนพื้นตัวสีเทาแก่ ขนปีก ขนหางพัดสีเทาแก่ ขนหางกระรวยสีเทาแซมขาวเล็กน้อย สร้อยคอ สร้อยปีก สร้อยหลัง ขนปิดหูสีดำ บางคนเรียกเทาขี้ควาย ปากแข้ง เล็บ เดือยและตาสีดำคล้ำ

 

ไก่ชนพันธุ์เขียวหางดำหรือเขียวกา

ไก่ชนพันธุ์เขียวหางดำหรือเขียวกา

ไก่ชน พันธุ์เขียวหางดำ หรือ เขียวกา

เขียวหางดำ หรือ เขียวกา บางแห่งเรียกว่า "เขียวพาลี หรือเขียวไข่กา" เชื่อว่ามีถิ่นกำเนิดมาจากทางภาคใต้และตะวันออก มีลักษณะเด่นๆ พอที่จะสังเกตได้ดังนี้

  • ลักษณะทั่วไปคล้ายๆ กับประดู่หางดำ ปากดำ

  • หงอนหิน หน้าหงอนบางกลางหงอนสูง ท้ายหงอนจะตกกดกระหม่อม

  • สร้อยปีก สร้อยคอ สร้อยคอหลังและสร้อยหางสีเขียวคล้ายปีกแมลงภู่

  • ขนปีกและลำตัวเขียวหรือเขียวอมดำ หางสีดำ

  • แข้งดำ เล็บดำ

ไก่ชนพันธุ์นกแดงหางแดง

ไก่ชนพันธุ์นกแดงหางแดง

ไก่ชนพันธุ์นกแดงหางแดง

ไก่ชนพันธุ์นกแดงหางแดงสายพันธุ์ไก่นกแดงหางแดง เป็นไก่พันธุ์แท้แต่โบราณ มีอยู่ทั่ว ๆ ไป แถบภาคกลาง ภาคใต้ และภาคเหนือ ไก่นกแดงที่มีชื่อโด่งดังครั้งสมัยอยุธยาตอนกลาง เป็นไก่ของขุนฤทธิ์ปูพ่าย หรือพระยาศรีไสณรงค์ เจ้าเมืองกาญจนบุรี ทหารเอกแห่งสมเด็จพระนเรศวรมหาราช และเป็นเพื่อนสนิทของขุนเดชพระเวทย์แสนศึกสู้ หรือพระยาไชยบูลย์ผู้นิยมไก่เขียวหางดำ และไก่นกแดงเช่นกัน อาจารย์พนได้เป็นผู้ให้ข้อมูล ดังนี้

  • รูปร่างลักษณะ ไก่พันธุ์นกแดง มีรูปร่างลักษณะเป็นไก่ทรงปลีกล้วย ลำตัวกลม ไหล่หน้าใหญ่ หางทรงฟ่อนข้าวหรือทรงหางม้า

  • ใบหน้า ใบหน้ากลมกลืนแบบหน้านกกา

  • ปาก ปากใหญ่โคนปากมั่นคง มีร่องน้ำ 2 ข้าง สีปากเหลืองอมแดงรับกับสีแข้ง เล็บ เดือย

  • จมูก จมูกสีเดียวกับปาก รูจมูกกว้าง สันจมูกเรียบ แคมหรือฝาจมูกสีเหลืองอมแดง

  • ตา ขอบตามี 2 ชั้น แบบตาวัว ขอบตาแจ่มใสสีแดง มีเส้นเลือดในดวงตาใหญ่ชัดเจน

  • หงอน เป็นหงอนหิน 3 แฉก โค้งกลางกระหม่อม

  • หู-ตุ้มหู ตุ้มหูรัดไม่หย่อนยาน ขนปิดหูสีแดง สีเดียวกับสร้อยคอ

  • กะโหลก กะโหลกหัวยาว 2 ตอน มีรอยในหัวชัดเจน

  • คอ เป็นรูปคอม้า ปล้องคอชิดแน่น ขนสร้อยคอสีแดงสีเดียวรับกับสร้อยหลังและสร้อยปีก

  • ปีก ปีกใหญ่ยาวเป็นลอยเดียว ไม่ห่างโหว่ ขนปีกสีแดงด้าน ขนสร้อยปีกสีแดงสดสีเดียวกับสร้อยคอ สร้อยหลัง

  • หาง หางพัดสีแดง หางกะลวยสีแดง ก้านหางสีแดง หางเป็นรูปหางม้า กระปุกน้ำมันเดียว

  • แข้ง ขา ปั้นขาใหญ่ล่ำสัน แข้งเรียวกลมแบบลำเทียน ขนปั้นขาสีแดง แข้งสีเหลืองอมแดง รับกับสีปาก

  • เกล็ด เกล็ดแข้ง เกล็ดนิ้วสีเหลืองอมแดง เป็นเกล็ดปัดตลอด มีเกล็ดพิฆาต เช่น เสือซ่อนเล็บเห็บใน ไชบาดาลและอื่น ๆ อย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่าง

  • นิ้ว นิ้วเรียวยาวเป็นลำเทียน เกล็ดนิ้วมักแตกมีเกล็ดพิฆาต สีเกล็ดเหลืองอมแดงรับกับแข้ง นิ้วเล็ก นิ้วสีเดียวกับแข้ง

  • เดือย เป็นเดือยงาช้าง สีเหลืองอมแดงรับกับปากและแข้ง

  • ขน ขนพื้นตัว หน้าคอ หน้าท้อง ใต้ปีกสีแดงตลอด ขนพัด ขนกะลวยสีแดง ขนสร้อยคอ สร้อยปีก สร้อยหลังก้านขนสีแดง เรียกว่าแดงหมดทั้งตัว

  • กิริยาท่าทาง ไก่นกแดงเป็นไก่สกุลเดียวกับไก่ทองแดง ไก่นกกรด มองไกล ๆ ดูคล้าย ๆ กัน เป็น

ประดู่หางดำ

ประดู่หางดำ

ไก่ชน พันธุ์ ประดู่หางดำ

ไก่ชนพันธุ์ประดู่หางดำ มีลักษณะเด่นๆ พอที่จะสังเกตได้ดังนี้

  • ปาก เป็นสายพันธุ์ไก่ชนที่มีปากสีดำ อูมใหญ่ โดยปากจะคล้ายปากนกแก้ว ปากบนมีร่องน้ำทั้งสองข้าง ระหว่างร่องน้ำจะเป็นสันราง

  • ตา ตาสีประดู่ หรือแดงอมม่วง หรือตาออกสีดำ หรือสีแดง

  • หงอน หงอนหินไม่มีจักเลย

  • สร้อยคอ สร้อยคอสีประดู่ยาวประบ่า ปีกใหญ่ยาว สร้อยปีกสีเดียวกับสร้อยคอ สร้อยหลังสีประดู่ยาวระย้าประก้น

  • ขน ขนลำตัวขนปีกและหางสีดำ กะลวยหางดำ โคนขาใหญ่

  • หน้าอก หน้าอกกว้าง และยาวเนื้อเต็มแน่น

  • ขาแข้ง เล็บและเดือย สีดำ

  • เพศเมียสีเดียวกับเพศผู้แต่ไม่มีสร้อย


ประดู่เลาหางขาว

ประดู่เลาหางขาว

ไก่ชน ประดู่เลาหางขาว

ไก่ชนพันธุ์ประดู่เลาหางขาว แหล่งกำเนิด เชื่อว่ามาจากพระนครศรีอยุธยา เพชรบุรี สุพรรณบุรี สิงห์บุรี กำแพงเพชร มีนบุรี หนองจอก สุโขทัย ประจวบคีรีขันธ์ นครศรีธรรมราช ประเภท เป็นไก่ชนไทยขนาดกลาง ตัวผู้หนัก 3.00 - 4.00 กก. ตัวเมียหนัก 2.50 - 3.00 กก. สีของเปลือกไข่ เปลือกไข่สีน้ำตาลอ่อน สีของลูกเจี๊ยบ ขนหัว ขนคอขาว ขนหางดำ ปีกในสีดำ ปีกนอกสีขาว หน้าคอ หน้าท้องสีขาว ประวัติความเป็นมา ไม่ทราบแน่ชัดว่ามีความเป็นมาอย่างไร พัฒนามาจากไก่สายพันธุ์ใด ในประวัติศาสตร์ หรือการบันทึกยังไม่พบว่าเกี่ยวข้องกับบุคคลสำคัญท่านใดในประวัติศาสตร์

รูปร่างลักษณะของประดู่เลาหางขาว

  • รูปร่าง แบบทรงหงส์ ลำตัวยาว ไหล่ยก หางดกยาวเป็นฟ่อนข้าว เดินยืดท่าทางสง่างาม แข้งกลมแบบลำหวาย หน้ากลมยาวแบบหน้านก

  • ใบหน้า กลึงกลมแบบหน้านกเหยี่ยว เหนียงคางรัด

  • ปาก ปากใหญ่ ปลายปากงุ้มสีน้ำตาลอมเหลืองเล็กน้อย ปากมีร่องน้ำลึกทั้ง 2 ข้าง สีน้ำตาลอ่อน

  • จมูก จมูกแบนราบสีเดียวกับปาก รูจมูกกว้าง สันจมูกเรียบ สีเดียวกับปาก

  • ตา ขอบตาเป็นรูปวงรีแบบตาวัว ขอบตา 2 ชั้น นัยน์ตาดำ ตารอบนอกสีเหลืองแก่แบบสีไพล เส้นเลือดสีแดงชัดเจน

  • หงอน หน้าหงอนบาง กลางหงอนสูง ท้ายหงอนกอดกระหม่อม หงอนสีแดงสด พื้นหงอนเรียบ

  • ตุ้มหู ตุ้มหูสีแดงเหมือนหงอน ขนปิดรูหูสีประดู่เลา เหมือนขนสร้อย

  • เหนียง เหนียงเล็กสีแดงเหมือนหงอน รัดติดกับคาง

  • กะโหลก กะโหลกยาวกลมเป็น 2 ตอน ตอนหน้าเล็ก ตอนหลังใหญ่กว่า

  • คอ คอยาวใหญ่โค้งแบบคอม้า กระดูกปล้องคอชิดร่องคอ ขนสร้อยคอขึ้นดกเป็นระเบียบสีประดู่เลา

  • ปีก ปีกยาวใหญ่จรดก้น ขนปีกท่อนในขาวปนดำ ปีกท่อนนอกไชปีกขาว ปีกท่อนในไชปีกขาวปนดำ ปีกแน่นไม่เป็นร่องโหว่

  • ตะเกียบ ตะเกียบแข้งตรง ท้องแฟบรับกับตะเกียบ

  • หาง หางยาวดกเป็นระเบียบ สีขาวปนดำ หางพัดดำปลายขาว หางกะลวยคู่กลางสีขาวปลอด คู่อื่นๆสีขาวปนดำ หางดกยาวเป็นฟ่อนข้าว ก้านหางสีเดียวกับขน

  • แข้งขา ปั้นขาใหญ่ ห่างจากกัน ข้อขามั่นคง ขนปั้นขาสีดำ เป็นแข้งรูปลำเทียน ลำหวาย เกล็ดแข้ง 2 แถวเป็นระเบียบ นิ้วเรียวยาว แข้งสีเดียวกับปาก

  • เกล็ด เกล็ดนิ้ว เกล็ดแข้งเรียงเป็นระเบียบสีเดียวกับปาก

  • นิ้ว นิ้วยาวเป็นลำเทียน ข้อนิ้วมีท้องปลิงหนา

  • เดือย เดือยเป็นเดือยแบบลูกปืน หรือแบบงาช้าง แข็งแรงมั่นคง

  • ขน ขนพื้นตัวสีดำ ขนกะลวยคู่กลางสีขาว คู่อื่นๆสีขาวปลายดำ ขนสร้อยคอ

  • สร้อยปีก และสร้อยหลัง สีประดู่เลา คือโคนสร้อยสีขาว ปลายสร้อยสีประดู่

  • เล็บ มั่นคงแข็งแรง สีเดียวกับเกล็ดแข้งและปาก

  • สร้อย สร้อยคอ สร้อยปีก สร้อยหลัง สีประดู่เลา คือ ขนสร้อยท่อนล่างสีขาว ท่อนปลายสีประดู่

  • กระปุกน้ำมัน เป็นกระปุกใหญ่ ปลายเดียว

 

ไก่ชนพันธุ์เขียวเลาหางขาว

ไก่ชนพันธุ์เขียวเลาหางขาว

ไก่ชนพันธุ์เขียวเลาหางขาว

 

ไก่ชนพันธุ์เขียวเลาหางขาว สมาคมอนุรักษ์และพัฒนาไก่พื้นเมืองไทย กำหนดไว้เมื่อวันที่ 6 กันยายน 2544 ในงานภูมิปัญญาเกษตรกรไทย ณ. อิมแพค อารีน่า เมืองทองธานี

แหล่งกำเนิด มีแหล่งกำเนิดที่สำคัญอยู่ที่จังหวัดกำแพงเพชร เพชรบุรี สุพรรณบุรี อยุธยา พิษณุโลก เพชรบูรณ์ และอีกหลายจังหวัดในประเทศไทย สีเปลือกไข่ เปลือกสีขาวอมน้ำตาล ลูกเจี๊ยบหัวขาว หน้าคอ หน้าอกสีขาว สันหลังดำ ปีกในดำ ไชปีกนอกขาว ปาก แข้ง เล็บ เดือย สีขาวอมเหลือง อมน้ำตาล ตาสีขาวอมเหลือง

                

  • รูปร่างลักษณะ เป็นไก่ทรงปลีกล้วย ไหล่หน้าใหญ่ ลำตัวกลมยาว หางยาว ท่าทางสง่างาม ทะมัดทะแมง

  • ใบหน้า ใบหน้ากลมกลึงแบบหน้านกกา

  • ปาก ปากใหญ่มีร่องน้ำสองข้าง ปลายปากงองุ้มเล็กน้อย ปากสีน้ำตาลอมเหลืองเล็กน้อย

  • จมูก จมูกแบบราบ สีเดียวกับปาก รูจมูกกว้าง สันจมูกเรียบ

  • ตา ตาเป็นรูปรีแบบตาวัว เป็นรูปตัววี ขอบตาสองชั้น ดวงตาสีเหลืองอมขาว ประกายตาแจ่มใส

  • หงอน หงอนเล็กเป็นหงอนหิน หน้าหงอนบาง กลางหงอนสูง ท้ายหงอนกอดกระหม่อม สีแดงสดใส

  • ตุ้มหู ตุ้มสีแดง รัดติดหน้าไม่หย่อนยาน รูหูมีขนขาวดำขึ้นรอบๆ และมีขนเขียวปนขาวปิดรูหู

  • เหนียง เหนียงรัดติดคาง ไม่หย่อนยาน สีแดงสดใสเหมือนสีหงอน

  • กะโหลก กระโหลกหัวยาวสองตอน มีรอยไขหัวชัดเจนตามธรรมชาติ

  • คอ คอใหญ่โค้งลอนเดียวแบบคอม้า คองูเห่า กระดูกปล้องคอชิด ร่องคอชิดไหล่ ขนคอขึ้นเป็นระเบียบ สร้อยคอประบ่า

  • ปีก ปีกยาวใหญ่เป็นลอนเดียวไม่โหว่ ไม่รั่ว ไม่ห่าง ขนปีกสีดำสนิท สร้อยหัวปีกสีเขียวเลา

  • สร้อย สร้อยคอ สร้อยปีก สร้อยหลัง สีเขียวเลา คือ ขนสร้อยท่อนล่างสีขาว ท่อนปลายสีเขียว บางชนิดปลายสร้อยขลิบทอง หรือมีขนขาวขึ้นแซมหรือปลายสร้อยมีกระจุด

  • หาง หางพัดสีดำ หางกระลวยสีขาวปนดำ กระลวยคู่กลางจะขาวปลอด คู่อื่นๆขาวปลายดำ

  • ตะเกียบ ตะเกียบก้นแข็งหนาและตรงชิด

  • แข้งขา ปั้นขาใหญ่ล่ำสันแข้งเรียวกลม ท้องแข้งเป็นสันนูน


ไก่ชนไทย


 

ไก่ชนไทย

 

ไก่ไทยเป็นไก่ที่มีลีลาฝีตีนแพรวพราว มีทั้งลูกล่อลูกชนยากจะหาไก่ชาติใดๆเสมอเหมือน คือ ทั้ง กอดขี่ บดบี้ ขยี้ ล็อก เท้าหุ่น ตีตัว มุดมัดและมุดลอดทะลุขา เมื่อเปรียบกับไก่ชาติอื่นๆแล้วถือว่าไก่ชนไทยมีภาษีดีกว่าไก่ชนชาติอื่นๆ แล้วทำไมไก่ชนไทยจึงตีต่อสู้ไก่ต่างชาติไม่ได้ หรือเป็นเพียงคำพูดที่กล่าวกันเล่นๆ หรือต้องการโปรโมทไก่ชนต่างชาติ แต่ข้อเท็จจริงแล้วมีดังนี้

  • 1. ไก่ชนไทยกับไก่พม่าลูก 100% ไม่มีโอกาสตีกันได้ หรือตีได้ก็น้อยคู่มาก เพราะขนาดของไก่ไทยกับไก่พม่าเป็นไก่คนละขนาด คือ ไก่พม่าแท้ๆจะมีขนาดเล็กและมีน้ำหนักไม่เกิน 2.5 กก. ตัวที่โต 3.00 กก. ขึ้นมีน้อย ส่วนไก่ไทยตัวที่มีขนาดเล็กไม่เกิน 2.5 กก. ก็มีน้อยแทบนับตัวได้ ยกเว้นไก่ป่าก๋อยที่มีขนาดเล็ก ไก่พม่าที่นำมาตีกับไก่ไทยในทุกวันนี้ ส่วนมากเป็นลูกผสม หรือลูกผ่านที่นำไก่พม่ามาผสมกับไก่ไทย เป็นไก่ที่มีเลือดพม่า 50% บ้าง 25% บ้าง ซึ่งจะมีขนาดโตประมาณ 3.00-3.20 กก. สำหรับไก่ลูกผสมพม่าที่มาตีกับไก่ไทย 100% นั้น ก็มีแพ้ มีชนะ ไม่ได้ชนะไก่ไทยทุกตัว ดังนั้นจะสรุปว่าไก่ไทยสู้ไก่พม่าไม่ได้นั้นจึงไม่เป็นความจริง เหตุที่เขานิยมไก่ลูกผสมพม่า ก็เพราะตัวไก่ลูกผสมตัวใดมีลีลาชั้นเชิงแบบไก่พม่า ก็เป็นไก่ที่สามารถปราบไก่เชิงกอดขี่ได้ ซึ่งไก่เชิงกอดขี่นี้เป็นไก่ที่นิยมเลี้ยงกันมาก ด้วยเหตุนี้เขาจึงนำไก่ลูกผสมพม่ามาเล่นเพื่อแก้ทางไก่เชิง ความจริงไก่พม่าก็แพ้ทางไก่ประเภท เดินอัด เดินบี้จี้ไม่ห่าง จิกหลังจิกไหล่ตี ตีหน้าคอ หน้าอุด ตีตัว ตีหลัง ไก่พม่าทนไม่ได้เพราะกระดูกบาง ถอดใจหนีง่ายๆ อีกอย่างหนึ่ง ไก่พม่ามักจะแพ้ทางไก่ประเภท ลูกหน้าไวและไก่แข้งเปล่า หรือดีดลูกหน้าไว เข้าทำนองหมองูตายเพราะงู ดังนั้นถ้าเราหาไก่ไทยที่มีชั้นเชิงดังกล่าว ก็สามารถสู้ไก่พม่าได้ ไม่ว่าจะเป็นลูก 100% หรือลูกผสม